
เข้ากันไม่ได้ ปัญหาบนเตียงเป็นสาเหตุของการหย่าร้างหรือเปล่า
จากสถิติการหย่าร้างที่สูงขึ้นเรื่อยๆถึงมากกว่า40%ซึ่งสวนทางกับอัตราการจดทะเบียนสมรสนั้น สาเหตุหลักๆคือความเข้ากันไม่ได้ ปัญหาสะสมมานานๆโดยไม่สามารถปรึกษาใครได้ ส่วนนึงที่สำคัญมาจากปัญหาเพศสัมพันธ์ ในสังคมไทยที่ยังคิดว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องที่ไม่ควรพูดหรือเล่าให้ใครฟัง แล้วปัญหาส่วนใหญ่ที่มีทางแก้ไขได้เกือบทั้งหมด....ควรจะเก็บไว้ดีแล้วหรือ
ขอแบ่งปัญหาหลักๆเป็นดังนี้
ปัญหาความถี่ เวลา อารมณ์ การตอบสนอง รสนิยมที่แตกต่างของคู่ครอง
อาการไม่เสียว ไม่สุข ไม่ถึงจุด ในชายและหญิง
ปัญหาขนาด ท่วงทาลีลา สมรรถภาพของผู้ชาย ภาวะหลั่งเร็ว
ปัญหาอาการเจ็บ ช่องคลอดแห้ง เสียบไม่เข้าของผู้หญิง
ปัญหาทางด้านจิตใจ ประสบการณ์ในอดีต ความเชื่อของสังคม
ปัญหาด้านร่างกาย โรคเรื้อรัง อุบัติเหต การผ่าตัด ยาบางชนิด

แต่ไม่ว่าจะมีปัญหาแค่ไหนแต่คนเราก็อยากจะมีเซ็กซ์กันอยู่ แล้วก็ยังต้องมี โดยแบ่งประโยชน์ได้ดังนี้
ทางอารมณ์ความรู้สึก ทำให้มีความสุขจากการหลั่งของserotoninช่วยเรื่องการนอนหลับและการย่อยอาหาร สารdopamineที่ทำให้เกิดการเสพติดความสุข สารendorphinsลดความเครียด สารprolactinเพิ่มความมั่นใจ
ทางกาย สารoxyticinช่วยลดความเจ็บ ลดการปวดศรีษะไมเกรน cluster headaches เพิ่มภูมิคุ้มกันเพิ่มNKcell,CD4,CD8,B cells,IgA สารnorepinephrineทำให้หลอดเลือดขยายจากการเพิ่มnitric oxide หัวใจแข็งแรง ลดการเจ็บหน้าอก ลดความดัน ลดภาวะstroke เพิ่มความฟิตโดยรวมจากการมีเซ็กซ์เท่ากับการออกกำลังกาย level2 HR ลดความเสี่ยงจากการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก3เท่า
ที่สำคัญที่สุดการมีเซ็กซ์บ่อยๆทำให้ดูเด็กลงได้7-12ปีเลยเชียวนะ
จริงๆแล้วไม่ว่าเพศไหนก็มีความอยาก ความต้องการ ความชอบ รสนิยมทางเพศที่ต่างกัน ซึ่งต้องปรับจูนให้ตรงกัน นอกจากการร่วมเพศแบบมีการสอดใส่ด้วยอวัยวะ,การใช้sex toys หรือ การช่วยตัวเองก็สามารถทำให้ถึงจุดสุดยอดซึ่งมีผลดีในทุกแง่ต่อสุขภาพแน่นอน
การพบแพทย์ก็สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะของแต่ละครอบครัวได้ ไม่ว่าจะทางกายภาพหรือทางจิตใจ
เพื่อให้เกิดการเข้ากันได้อีกครั้ง ลดการหย่าร้าง ลดการมีชู้ ลดความเสี่ยงจากการติดโรค และลดปัญหาสังคมได้มากมาย
#pheomedclinic #benefitsofsex #sexpositive #marriageandfamilytherapy #coupletherapy #sextherapy #healthphenomenon
แพทยศาสตร์บัณฑิต แพทย์ชะลอวัย เวชศาสตร์ทางเพศ

Magon, Navneet; Kalra, Sanjay. The Orgasmic History of Oxytocin: Love, Lust, and Labor. Indian Journal of Endocrinology & Metabolism. 2011; 15(Suppl 3):S156–S161. [PubMed: 22029018]
Klein SL. The effects of hormones on sex differences in infection: from genes to behavior. Neurosci Biobehav Rev. (2000) 24:627–38. doi: 10.1016/S0149-7634(00)00027-0
Grewen KM, Anderson BJ, Girdler SS, Light KC. Warm partner contact is related to lower cardiovascular reactivity. Behavioural Medicine, 2003;29:123-30.
Brody S. Blood pressure reactivity to stress is better for people who recently had penile-vaginal intercourse than for people who had other or no sexual activity. Biological Psychology, 2006;71:214-22.
Lindau ST, Schumm LP, Laumann EO, et al. A Study of Sexuality and Health among Older Adults in the United States. New England Journal of Medicine . 2007;357:762-74.
Research published in Social Psychology and Personality Science found that among college students And study published in the Journal of Adolescent Health.
Rerkpattanapipat P, Stanek MS, MN Kotler. Sex and the heart: What is the role of the cardiologist? European Heart Journal 2001;22: 201-208.
The research was conducted by the University of Munster in Germany and published in Cephalalgia.
MedalieJH, Goldbourt U. Angina pectoris among 10,000 men. II. Psychosocial and other risk factors as evidenced by a multivariate analysis of a five-year incidence study. American Journal of Medicine , 1976;60:910-21. MedalieJH, Stange KC, Zyzanski SJ, Goldbourt U. The importance of biopsychosocial factors in the development of duodenal ulcer in a cohort of middle-aged men. American Journal of Epidemiology , 1992;136:1280-7. https://www.medicalnewstoday.com/articles/316954.php
Charnetski CJ, Brennan FX. Sexual frequency and salivary immunoglobulin A (IgA). Psychology Report , 2004;94:839-44..